top of page

Welcome!

I am Hee-Chan Song, an assistant professor at Sasin Graduate School of Management at Chulalongkorn University in Thailand. My main research interest includes sustainable development and organization theory. I am also interested in Buddhism. Most of my research projects are based on long-term fieldwork in Buddhist temples across Asia, which I have been conducting since 2015. This field study aims to integrate Buddhism into management theories through a deep understanding of temple life.

There are two reasons why I chose Buddhism. First, Buddhism offers a unique perspective on human nature and society. This helps us redefine the role of business and provides new insights into management theories. In particular, Buddhist perspective on desire and happiness offers fresh intellectual inspiration to management scholars.

Second, Buddhism can be an alternative path to solve the present global crises such as poverty, climate change, and ecological destruction. Buddhist thinking guides us to use the desire given to us properly, by transforming the source of crises we face into our own problems. Many business leaders claim that business schools must provide new questions and educational programs. I believe Buddhism can be an alternative.

부처님 탄신지_edited.jpg
TYST 스님_edited.jpg

To deeply explore Buddhism, I have been conducting ethnographic fieldwork at Buddhist temples across Asia since 2015 (The first year of PhD program). As I could receive major research grants from several institutions, the scope of this fieldwork has been expanded from Korea to all the temples across Asia. My research themes now expand from temple management to broader social science topics such as economic development and mindfulness.

Fieldwork in Buddhist temples across Asia, 2015 - 2024

지도.png
화면 캡처 2023-11-09 032704.png

I mainly spend my time doing academic activities and teaching one course, Mindful Leadership. My full residence in Bangkok is from May to June every year. For the rest of my time, I stay at the temples throughout Asia. The places I mainly stay are Ayutthaya in Thailand, Luang Prabang in Laos, Kyoto in Japan, and Thimphu in Bhutan.

I am based in an academic institution, but I am open to any form of intellectual discussion. I sincerely enjoy discussing art, religion, science, and other intellectual inquiry with those from different backgrounds. Please look through this website for my research projects, publications, and photos.

I appreciate generous support from following people and institutions, which makes this fieldwork possible.

  • (2019 – 2023) Sasin Research Grant, Sasin School of Management, 950,000 Baht (USD 33,000)

  • (2019 – 2020) Chulalongkorn New Faculty Grant, Chulalongkorn University, 120,000 Baht (USD 4,000)

  • (2019 – 2020) Sasin New Faculty Grant, Sasin School of Management, 100,000 Baht (USD 3,500)

  • (2017 – 2020) Personal donation, Hong-Kong base entrepreneur-philanthropist, USD 100,000

  • (2017 – 2018) Ontario Graduate Scholarship, Canada Ontario Government, CAD 15,000

  • (2017 – 2018) John F. Rankin doctoral scholarship, Ivey Business School, CAD 15,000

  • (2014 – 2019) G. Mark Curry doctoral scholarship, Ivey Business School, CAD 92,000

  • (2014 – 2016) Presidential doctoral fellowship, Hanyang University, USD 12,000

Peace and health,

Hee-Chan Song

반갑습니다.

저는 태국 출라롱콘대학, Sasin 경영대학원의 조교수 송희찬이라고 합니다. 저는 경영학 분야 중 지속가능경영과 조직이론을 연구하고 있으며, 최근에는 동남아시아 비즈니스 특성에 주목하고 있습니다. 경영학 이외의 분야로는 불교에 관심이 많습니다. 저의 주된 연구는 2015년부터 진행하고 있는 아시아 여러 불교 사찰에서의 현장 연구입니다. 이 현장 연구는 사찰생활에 대한 깊은 이해를 통해 불교를 경영학에 접목하는 것을 목표로 합니다.

제가 경영학 전공자로써 불교를 선택한 이유는 두 가지입니다. 첫째, 불교가 인간과 사회를 보는 독특한 관점을 제시하기 때문입니다. 이는 기업의 사회적 역할과 조직관리를 다루는 경영학에 새로운 통찰을 제공합니다. 특히, 불교의 욕망이론, 행복이론은 경영학자들에게 많은 지적 영감을 주고 있습니다.

둘째, 불교가 빈곤, 기후변화, 생태계 파괴와 같은 세계적 위기를 해결하는 새로운 대안이 될 수 있기 때문입니다. 불교는 세계가 봉착한 여러 문제를 내 자신의 문제로 유도함으로써, 우리에게 주어진 욕망을 제대로 관조하고 활용할 수 있게 도와줍니다. 많은 비즈니스리더들이 경영대학이 새로운 질문과 교육프로그램을 제공해야 한다고 주장합니다. 불교적 관점이 하나의 대안이 될 수 있다고 생각합니다.

저는 불교를 깊이 탐구하기 위해 2015년 (박사과정 1년차)부터 아시아 전역의 사찰에서 현장연구를 수행하고 있습니다. 여러 기관으로부터 연구비를 지원받으며 연구지역의 범위가 더욱 확대되었습니다. 이제 제 연구주제는 사찰조직 분석에서 불교와 경제발전과 같은 광범위한 사회과학 분야로 확장되었습니다. 

저는 학교에 있을 때에는 주로 학술적 활동에 시간을 보내고, MBA 학생들을 대상으로 Mindful leadership이라는 과목을 가르칩니다. 제가 확실하게 방콕에 상주하는 기간은 매해 5월 말 ~ 6월 말이며, 나머지 11개월은 아시아 전역의 사찰에서 지냅니다. 주로 지내는 곳은 태국의 아유타야, 라오스의 루앙프라방, 일본의 교토, 부탄의 팀푸입니다.

저는 학교에 몸담고 있지만 제도권 학문 이외의 다양한 지적 토론을 즐깁니다. 직업과 신분에 관계없이 허심탄회한 지적 대화에 항상 열려 있습니다. 이 웹사이트에서 저의 연구 프로젝트와 결과물, 그리고 연구 현장이 담긴 사진첩을 확인해 보시기 바랍니다.

감사합니다.

송희찬

ยินดีต้อนรับ

ผมชื่อฮีชานซอง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ผมมีความสนใจในการทำวิจัยเรื่อง ความยั่งยืน ทฤษฎีการพัฒนาและการจัดการองค์กร นอกจากนั้น ผมยังสนใจในเรื่องพระพุทธศาสนาอีกด้วย งานวิจัยของผมส่วนใหญ่เป็นการทำวิจัยภาคสนามแบบระยะยาวโดยได้เดินทางไปวัดต่างๆทั่วเอเชีย ซึ่งผมได้เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 การศึกษาภาคสนามนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบูรณาการพระพุทธศาสนาเข้ากับทฤษฎีการจัดการ

 

ผ่านความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับชีวิตในพระพุทธศาสนา ผมมีสองเหตุผลที่สนใจในด้านพุทธศาสนา ประการแรกคือ พุทธศาสนาเสนอมุมมองที่เป็นเอกลักษณ์เกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์และสังคม สิ่งเหล่านี้ช่วยให้เรากำหนดบทบาทของธุรกิจและให้ข้อมูลเชิงลึกใหม่ๆเข้าสู่ทฤษฎีการจัดการ โดยเฉพาะมุมมองทางพุทธศาสนาเกี่ยวกับความปรารถนาและความสุขที่นำเสนอแรงบันดาลใจใหม่ๆทางปัญญาให้แก่นักวิชาการด้านการจัดการ 

ประการที่สองคือ พุทธศาสนาสามารถเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการแก้ไขวิกฤติโลกในปัจจุบัน เช่น ความยากจน การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการทำลายระบบนิเวศ แนวคิดในพุทธศานาสามารถนำทางให้เราเห็นคุณค่าของความปรารถนาและใช้มันอย่างเหมาะสม อาทิเช่น ความปรารถนาที่จะมองต้นเหตุของวิกฤตที่โลกเผชิญให้เสมือนเป็นปัญหาของเราและร่วมกันแก้ไขในปัจจุบันนักธุรกิจชั้นนำในอุตสาหกรรมต่างๆได้แสดงความคิดเห็นว่าคณะบริหารธุรกิจในสถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรและตั้งคำถามใหม่ๆให้แก่นักศึกษาและผมเชื่อว่าพุทธศาสนาสามารถเป็นทางอีกหนึ่งทางเลือกในการพัฒนาหลักสูตร

เพื่อศึกษาพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ผมได้ลงพื้นที่เพื่อศึกษาด้านชาติพันธุ์วิทยาที่วัดต่างๆ ในทวีปเอเชียตั้งแต่ปี 2558 (ปีแรกของหลักสูตรปริญญาเอก) และเนื่องจากผมได้รับทุนวิจัยจากสถาบันที่หลากหลาย ทำให้ขอบเขตของงานนี้ได้ขยายจากเกาหลีไปยังวัดทั่วทุกแห่งในเอเชีย ดังนั้นหัวข้อการวิจัยของผมตอนนี้ได้ขยายจากกลยุทธ์การพัฒนาการบริหารจัดการวัด (Temple management) ไปสู่หัวข้อสังคมศาสตร์ที่กว้างขึ้นเช่น การพัฒนาเศรษฐกิจและการเจริญสติ (Mindfulness)

ผมใช้เวลาส่วนใหญ่ทำกิจกรรมทางวิชาการและสอนหลักสูตรภาวะผู้นำแห่งสติ (Mindful Leadership) ตลอดช่วงเวลาเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายนของทุกๆปี ผมอาศัยที่กรุงเทพมหานคร และช่วงเวลาที่เหลือ ผมจะเดินทางไปอาศัยตามวัดต่างใน จังหวัดอยุธยา ประเทศไทย , เมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว, เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น และ เมืองทิมพู ประเทศภูฏาน

ผมประจำในสถาบันการศึกษา แต่ผมก็เปิดรับโอกาสในการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการทุกรูปแบบ ผมมีความสนใจเป็นพิเศษในการอภิปรายหัวข้อที่เกี่ยวกับศิลปะ ศาสนา วิทยาศาสตร์ และการถกเถียงในมุมมองที่แตกต่าง หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโครงการวิจัยของผม สามารถรับชมได้จากเว็บไซต์นี้

ขออำนวยอวยพรให้ทุกท่านมีแต่ความสุข ความเจริญ
ซอง ฮีชาน

こんにちは。

 

私はタイのチュラーロンコーン大学、Sasin経営大学院の助教授ソン・ヒチャン(宋熙燦)と申します。経営学分野の中でも持続可能経営と組織理論を研究しており、最近は東南アジアのビジネス特性に注目しています。経営学以外の分野では、仏教に大変興味を持っております。私の主な研究は、2015年から進めているアジア各地の仏教寺院でのフィールドワークです。このフィールドワークは寺院での生活を深く理解し、経営学に仏教を取り入れることを目指しています。

 

経営学を専攻した私が仏教を選んだ理由は二つあります。まず、仏教が人間と社会に独特の視点を提示するからです。この視点を持つことで、企業の社会的役割や組織管理を扱う経営学に新たな洞察力が生まれます。特に仏教の欲望理論、幸福理論は、経営学者らに多くの知的インスピレーションを与えています。

 

もう一つは、仏教が貧困、気候変動、生態系破壊のような世界的な危機を解決する新しい代替案になり得るからです。仏教は世界が直面する様々な問題を自分の問題として捕らえることで、私たちに与えられた欲望をしっかり観照し、活用できるようにします。多くのビジネスリーダーが、経営学部は新しい質問や教育プログラムを提供する必要があると主張します。仏教的視点が一つの代替案になり得ると思います。

 

私は仏教を深く探求するため2015年(博士課程1年目)からアジア各地の寺院でフィールドワークをしています。様々な機関から研究助成を受け、研究地域の範囲がさらに広がりました。今や私の研究テーマは、寺院組織の分析から仏教と経済発展との関係のような、幅広い社会科学分野へと広がっています。

 

学校にいるときは主に学術活動に時間を費やし、MBAの学生を対象にマインドフル・リーダーシップという科目を教えています。毎年5月末から6月末まではバンコクに在住し、残りの11ヶ月はアジア各地の寺院で過ごします。よく滞在するのはタイのアユタヤ、ラオスのルアンパバーン、日本の京都、ブータンのティンプーです

私は学校に勤めていますが、大学で行う学問以外の様々な知的議論を楽しんでいます。職業や身分に関係なく、虚心坦懐に知的対話をすることは常に大歓迎です。

このウェブサイトには私の研究プロジェクトや研究結果、そして研究現場を写したアルバムがありますので、ご覧いただけますと幸いです。

 

ありがとうございます。

宋熙燦

大家好。

我是泰国朱拉隆功大学 Sasin管理学院的助理教授宋熙灿。在管理学领域中,我正在研究可持续性管理和组织理论。最近,我还在关注东南亚地区的商业特点。除了管理学以外,我对佛教也很感兴趣。我的主要研究是自2015年开始的针对亚洲多座佛寺的实地研究。这项实地研究旨在通过深入了解寺庙生活,将佛教思想融入到管理学中。

作为一名管理学专业的人,我选择佛教的原因有两点。首先,佛教对人和社会持有独特的看法。这可以为企业的社会责任和组织管理中运用的管理学提供新的见解。尤其是佛教的欲望理论和幸福理论能够为管理学学者提供许多智慧启示。

其次,佛教可以成为解决贫困、气候变化和生态系统破坏等全球性危机的新替代方案。佛教思想主张世事都关乎自身,可帮助我们正确认识和运用我们的欲望。许多商界领导主张管理学院应提供新的问题和教育计划。我认为佛教思想可以成为其中的一个替代方案。

我为了深入研究佛教,自2015年(攻读博士学位的第一年)起便开始在亚洲各地的寺庙进行实地研究。在获得多个机构的研究费赞助后,研究地区得到了进一步扩大。现在,我的研究主题已从寺庙组织的分析扩展到佛教、经济发展等广泛的社会科学领域。

在校期间,我主要进行学术活动并向MBA学生进行名为“Mindful leadership”的课程。每年的5月末到6月末,我会居住在曼谷,而其余的11个月,我会在亚洲各地的寺庙中度过。我的主要居住地为泰国大城府 、老挝琅勃拉邦、日本京都以及不丹的廷布。

虽然我从事教学工作,但也非常喜欢参与体制内教育之外的各种知识讨论。我喜欢无关职业与身份的开放坦诚的交流。

欢迎大家在本网站浏览我的研究项目和成果,以及有关研究现场的照片。

谢谢

宋熙灿

 

bottom of page